Wednesday, December 26, 2012

家 เกี่ยวข้องกับ..คน


วันนี้เราจะเรียนต่อจากเมื่อวานนะครับ
นั่นก็คือคำว่า  Zhe3 = เจ(ร)อะ แปลว่า คน, ผู้...
เป็นตัวกำกับหมวดหมู่ตัวที่ 125
Compounds
新聞記者Xīnwén jìzhě
人気者Rénqìzhě
愛国者Àiguó zhě = คนรักชาติ
愛読者Ài dúzhě
悪者Èzhě
芸者Yúnzhě
配偶者Pèi'ǒu zhě = คู่ครอง
被害者Bèihài zhě = เหยื่อผู้เคราะห์ร้าย
利用者Lìyòng zhě = ผู้ใช้งาน
担当者Dāndāng zhě = บุคคลที่รับผิดชอบ
忍者 (ninja) Rěnzhě = นินจา
医者 (doctor) Yīzhě = healer
著者Zhùzhě = ผู้เขียน




ตัวอย่างที่ผู้เขียนยกขึ้นมาพอให้เห็นภาพว่า
อะไรก็ตามที่ลงท้ายตัวตัวอักษร  Zhe3 = เจ(ร)อะ
จะเกี่ยวข้องกับ ผู้คน


 นอกจากคำว่า  Zhe3 = เจ(ร)อะ แปลว่า คน, ผู้...           
ก็ยังมีคำอื่น ๆ ที่แปลว่า คน, ผู้...
ทำนองเดียวกับคำว่า  Zhe3 = เจ(ร)อะ
เช่นคำว่า Jia1 = เจีย ที่เราเพิ่งเรียนเมื่อวานนั้น




คำว่า Jia1 = เจีย
ปกติจะแปลว่า บ้าน
แต่เมื่อผสมกับคำศัพท์อื่น แล้วเขียนไว้ตอนท้าย
คำว่า Jia1 = เจีย
ก็จะแปลว่า คน,ผู้.....
เช่นเดียวกับคำว่า  Zhe3 = เจ(ร)อะ
ที่แปลว่า คน, ผู้...,นัก....
นั่นเองครับ


วันนี้ขอเสนอคำว่า “นักชีววิทยา”
生物学家
Sheng1wu4 xue2jia1
เส(ซิ)งอู้ เสวเจีย





















Tuesday, December 25, 2012

家 บ้าน..ต้องมี..หมู














Jia1 = เจีย แปลว่า บ้าน
ครับผม ทุกคนทุกท่าน
จากการเดาความของคำว่า บ้าน ในภาษาจีนกลางนี้นั้น
น่าจะเดาได้ว่า
๑.เกิดจากส่วนบนของคำว่าJia1 = เจีย แปลว่า บ้าน
คือส่วนของหลังคาบ้าน
และคนที่เรียนภาษาจีนกลางก็มักจะเรียกตัวอักษรส่วนหัวว่า หลังคาบ้าน
และ
๒. คำว่า จ(รู) แปลว่า หมู
อู๊ด ๆ นั่นเองครับ


เมื่อพูดถึงคำว่า หมู
ตามวัฒนธรรมของคนจีนโบราณแล้วนั้น
หากบ้านไหนสามารถเลี้ยงหมูไว้
และสามารถแพร่พันธุ์ให้ออกลูกออกหลานได้มาก ๆ
ก็จะถือว่า บ้านนั้นร่ำรวยและอุดมสมบูรณ์
นี่จึงน่าจะเป็นที่มาของคำว่าJia1 = เจีย แปลว่า บ้าน
นี่เองครับ


คำว่า จ(รู) แปลว่า หมู
เกิดจากคำสองคำ คือ
๑.ตัวกำกับคำว่า สัตว์สี่เท้า
ที่เขียนด้านข้างซ้ายของคำว่าจ(รู) แปลว่า หมู
และ
๒.ตัวกำกับในการอ่านออกเสียง ซึ่งก็คือคำว่าZhe3 = เจ(ร)อะ
ซึ่งเป็นตัวกำกับหมวดหมู่ตัวที่ 125










Sunday, December 23, 2012

ระบบปฏิบัติการ Android


การใช้งานระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android)
เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิด ที่มีข้อดีคือมีความหลากหลาย
สามารถต่อยอดหรือพัฒนาโดยกลุ่มผู้ใช้เองได้

แต่ข้อเสียที่ตามมาก็คือ
ไม่มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของระบบ
ยกตัวอย่าง เช่น การควบคุมการทำงานของโปรแกรมต่างๆ อาจจะไม่เหมือนกันเลย
ทำให้ผู้ใช้ที่ไม่ได้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีมากนัก อาจจะรู้สึกว่าใช้งานยาก ไม่สะดวกสบาย
และที่สำคัญคือ การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface) ของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android)
ยังไม่ดีเท่าระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS) เท่าที่ควร

ส่วนในการใช้งานระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS) นั้น
จะมีความง่ายและสะดวกของผู้ใช้ในการใช้งาน (User Friendly)
และที่สำคัญเนื่องด้วยระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS)
เป็นระบบปฏิบัติการแบบ ปิด
ทำให้สามารถควบคุมทุกอย่างให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันได้
ดังนั้น ทุกๆ อย่างที่อยู่ในระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS)
จะมีความสอดคล้องและพัฒนามีเพื่อใช้งานกับอุปกรณ์เฉพาะของบริษัทเอง
ทำให้มีลักษณะการทำงานที่คล้ายคลึงกันหมด ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้ง่ายมาก

แอพพลิเคชั่น (Applications) ในระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android)
ผู้ใช้สามารถร่วมสร้างแอพพลิเคชั่น (Applications) ที่ตอบสนองผู้ใช้งานได้
จึงทำให้ในระยะเพียงไม่กี่ปี
มียอดการเจริญเติบโตของแอพพลิเคชั่น (Applications)
เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วและได้รับความนิยมสูงสุด